วันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS06-28-07-2009

DTS05/28-07-2009

เรื่อง Linked List
ลิงค์ลิสต์ (Linked List) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องของอิลิเมนต์ต่าง ๆ โดยมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อแต่ละอิลิเมนท์ เรียกว่าโนด (Node) ซึ่งในแต่ละโนดจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือData จะเก็บข้อมูลของอิลิเมนท์ และส่วนที่สอง คือ Link Field จะทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของโนดในลิส
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. Head Structure จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนได้แก่ จำนวนโหนดในลิสต์ (Count) พอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดที่เข้าถึง (Pos) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดข้อมูลแรกของลิสต์ (Head)
2. Data Node Structure จะประกอบไปด้วยข้อมูล(Data) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังข้อมูลตัวถัดไป
Linked List แบบซับซ้อน
1. Circular Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่สมาชิกตัวสุดท้ายมีตัวชี้ (list) ชี้ไปที่สมาชิกตัวแรกของลิงค์ลิสต์ จะมีการทำงานไปในทิศทางเดียวเท่านั้นคือเป็นแบบวงกลม
2. Double Linked List เป็นลิงค์ลิสต์ที่มีทิศทางการทำงานแบบ 2 ทิศทาง ในลิงค์ลิสต์แบบ 2ทิศทาง ส่วนข้อมูลจะมีตัวชี้ไปที่ข้อมูล

วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS04/14-07-2009

Set and String
ตัวดำเนินการของเซ็ต (Set operators)
ประกอบด้วย
- set intersection
- set union
- set difference
สตริง (String) หรือ สตริงของอักขระ (Character
String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือ
เครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
การกำหนดสตริง
การกำหนดสตริงทำได้หลายแบบ คือ
1. กำหนดเป็นสตริงที่มีค่าคงตัว
(String Constants)
2. กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์
การกำหนดค่าคงตัวสตริง
สามารถกำหนดได้ทั้งนอกและในฟังก์ชัน เมื่อกำหนดไว้นอก
ฟังก์ชัน ชื่อค่าคงตัวจะเป็นพอยเตอร์ชี้ไปยังหน่วยความจำที่เก็บสตริง
นั้น เมื่อกำหนดไว้ในฟังก์ชัน จะเป็นพอยเตอร์ไปยังหน่วยความจำที่
เก็บตัวมันเอง
การกำหนดค่าให้กับสตริงนั้น เราจะใช้เครื่องหมาย double
quote (“ ”) เช่น “abc” คือ ชุดของอักขระที่มีขนาด 4 (รวม \0 ด้วย)
การกำหนดตัวแปร country จะแตกต่างกับการ
กำหนดตัวแปรอะเรย์ เพราะเป็นการกำหนดตัวแปรพอย
เตอร์ขึ้น 4 ตัว โดยให้แต่ละตัวชี้ไปยังค่าคงตัวสตริงทั้ง4 ตัว
การกำหนดตัวแปรสตริง
ในการกำหนดตัวแปรของสตริง อาศัยหลักการ
ของอะเรย์ เพราะ สตริงก็คืออะเรย์ของอักขระที่ปิดท้าย
ด้วย null character (\0) และมีฟังก์ชันพิเศษสำหรับโดยเฉพาะ

วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

DTS03-30/06/2009

สรุป Array and Record

อะเรย์เปงโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์
การกำหนด Array
อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ
ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและกำหนดสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน
อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบ data-type array-name[expression]
data-type คือ ปรเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int
char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของอะเรย์
char a[4]i หมายถึง คอมพิวเตอร์จะจองเนื้อที่ในหน่วยความจำของตัวแปล a ขนาดสมาชิก 4 สมาชิก
Initialization คือ การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอะเรย์ การกำหนดค่าให้กับตัวแปรจุดที่มีค่าเป็นตัวเลข
การสั่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน 1 สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชั่นได้ 2 ลักษณะ ฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript
2.ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript